http://youtu.be/w_VOxYFd6E0
คลิปรายการย้อนหลัง "เรียนอิสระฯ" ตอน..เรียนรู้ทิฐิให้กระจ่างก่อนเป็นโสดาบัน
คลิปรายการย้อนหลัง "เรียนอิสระฯ" ตอน..เรียนรู้ทิฐิให้กระจ่างก่อนเป็นโสดาบัน
โดยพ่อครูสมณะโพธิรักษ์/ส.เดินดิน ติกขวีโร..ร่วมดำเนินรายการ
ถ่ายทอดสดจากสันติอโศก กรุงเทพฯ 23 พ.ค.2555
ตอน "เรียนรู้ทิฐิให้กระจ่างก่อนเป็นโสดาบัน”
บันทึกย่อพ่อครูสอน เรียนอิสระตามสำนึก สันติฯ
พุธ ๒๓ พ.ค. ๒๕๕๕ ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๗ ปีมะโรง เริ่ม 18:0 น.
โดย คุณใจแปลง สู่แดนธรรม
1. ท่านเดินดินเกริ่น..วัดอื่นก็เตรียมพร้อมที่จะฉลองสัมพุทธชยันตี เช่น บวชพระให้ได้จำนวนมาก คำว่าบวชก็คือการเว้นจิตออกจากความชั่วให้ได้ มองไปที่นักเรียนตำรวจ อุตส่าห์ฝึกหัดมาจนได้ แต่พอได้เครื่องแบบแล้วกลับไปเป็นโจร นี้คือไปเน้นการได้รูปแบบ ไม่ได้มีจิตใจเป็นแก่นแท้ การบวชนั้นจิตใจจะต้องเข้าถึงการบวช(เนกขัมมะ) ได้เบื้องต้นแห่งพระโสดาบัน
2. พ่อครูว่าจะสอนต่อเรื่องความพร้อมก่อนจะเป็นโสดาบัน ต้องย้ำซ้ำซากอีกว่า ผู้จะปฏิบัติจนบรรลุมรรคผลได้นั้น ก็จะเป็นไปตามลำดับที่พระพุทธองค์ตรัสให้แนวทางไว้ การบวชที่ว่านี้ ไม่จำเป็นต้องมาเข้าพิธีบวชก็ได้ ขอให้ตั้งใจศึกษาเอาจิตใจออกจากกิเลส ทำเนกขัมมะออกจากกามพยาบาท ออกจากวัฏฏสงสารที่ยังอวิชชาอยู่ ศึกษาให้สัมมาทิฐิดีๆ เถิดแล้วตั้งใจปฏิบัติให้ดีๆ ทำให้ได้ตามลักษณะของแสงอรุณแห่งธรรม อันดับแรกคือ ต้องรู้จักเลือกเฟ้นคบหามิตรดี
3. มิตรดีได้แก่ผู้ที่เป็นสัตบุรุษ หรือเป็นสมณพราหมณ์ในข้อที่ ๑๐ ของสัมมาทิฐิ ซึ่งท่านเป็นผู้มีความรู้ยิ่งเป็นของตนเอง (สยัง อภิญญา) ดังนั้นจึงต้องแสวงหาการคบบัณฑิต ไม่ใช่ไปอยู่คนเดียวแล้วจะบรรลุรู้เองขึ้นมา ซึ่งถ้าคุณมีบารมีสูงเองก็พอว่า ดังนั้นจึงต้องควรอยู่กับหมู่มิตรดี เพื่อจะได้ฟังทิฐิความเห็นอื่น เพื่อช่วยให้เกิดองค์คุณแห่งสัมมาทิฐิ
4. แสงอรุณที่ควรมาก่อนต่อจากนั้นก็คือ การเข้าถึงพร้อมด้วยศีล การนั่งสมาธิอยู่เฉยๆ แล้วก็หลงว่ามีศีลบริสุทธิ์เพราะไม่ได้พูดปด ไม่ได้ละเมิดศีลอะไรเลย พ่อครูว่านี้แหละที่ล้มเหลว การจะบริสุทธิ์ได้จะต้องมีสัมผัสมาทดสอบจริงๆ ราคะ โทสะ จะเกิดการละเมิดไหม จะต้องทำให้ลดความแรงของกิเลสลง จึงจะรู้ว่าพ้นราคะ โทสะ โมหะ ... เช่น ศีลบางอย่างในการงานอาชีพ ทำอยู่ทำกิน โสดาบันจะต้องละเว้นมิจฉาอาชีวะ ๕ เลิกการคดโกงทุจริตคอร์รัปชั่น (กุหนา) และเลิกการล่อลวง หลอกลวงเขา (ลัปนา) สองอย่างนี้ควรเลิกออกมาให้เด็ดขาดก่อน ส่วนขั้นที่ ๓ นั้น การตลบตะแลง (เนมิตตกตา) เริ่มปฏิบัติให้พ้นการเสี่ยง ต้องทำให้หมดสิ้นการตลบตะแลง ขั้นที่๔ คือ คุณมีศีลได้เป็นส่วนตนดีแล้ว แต่ก็ยังมอบตนไปในหมู่ที่ผิดอยู่ ยังเป็นเครื่องมือให้เขาไปเบียดเบียนมนุษย์ด้วยกัน
5. สัมมาอาชีวะระดับที่ ๕ สะอาดบริสุทธิ์ที่สุดเลยคือ “ทำงานฟรี” ไม่ต้องเอาสิ่งแลกเปลี่ยนกลับคืนมาเลย (ไม่เอาลาภแลกลาภ หรือไม่ต้องเอาลาภต่อลาภ) พ่อครูเอาทฤษฎีทำงานฟรีของพระพุทธเจ้ามาให้มนุษยชาติประพฤติกันในยุคนี้ ยุคที่ใกล้กาลียุคด้วยซ้ำไป ก็ยังปฏิบัติกันได้โดยไม่จำกัดกาล ... แม้พวกเรายังไม่ได้เป็นอนาคามีกันถึงจิตจริงๆ แต่ทางกายที่พอดูออกได้ ก็ยังสามารถทำงานเหน็ดเหนื่อยให้ฟรีได้ ถือว่าเป็นโคตรภูบุคคล ที่รอแต่เวลาที่จิตตัดขาดได้ (เป็นโคตรภูจิต) จนเกิดญาณที่อ่านรู้ว่าตนเองตัดโคตรได้ เรียกว่า “โคตรภูญาณ” ที่หลุดพ้นแล้ว ว่างสบายแล้ว จิตก็เป็นได้ ญาณก็รู้ว่าจบกิจ มีกตญาณที่รู้ความจบสิ้น รู้นิโรธ รู้ความจบที่บริบูรณ์สิ้นแล้ว
6. การจะรู้จักโคตรภูญาณก็มีพื้นความรู้มาจากศีลไปเป็นสมาธิ มีฉันทะยินดี และไม่ประมาท เข้าถึงความไม่ประมาท คือไม่ปล่อยปละละเลยในการสังวร ระวัง พากเพียรปหานไปตามที่เราสมาทาน ... พ่อครูจะตั้งใจอธิบายเรื่องทิฐิให้ดีๆ เพราะคนเราจะต้องมีความเห็นเข้าใจให้สัมมาทิฐิก่อนเป็นสำคัญ คือ จะต้องยอมฟังผู้อื่น มีปรโตโฆสะ ลองฟังความเห็นบัณฑิตอื่นดูบ้าง
ก็มักจะมีคนส่ง sms มาแย้งแบบคนไม่มีปัญญา แย้งแบบตะแบงๆ เช่น พ่อครูพูดถึงการออกป่าของพระที่หลงผิด ... “ศึกษามาดีแล้วก็ปฏิบัติไป จะมาว่าคนอื่นเหมือนไม่มีทางไป” ... “ปฏิบัติธรรมแล้วมานั่งถามตอบถึงความสำเร็จ เหมือนเด็กเรียนหนังสือเลย” ซึ่งพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายก็ยังสอบถามกันเลย พ่อครูเห็นว่า ถ้าแย้งเข้าหลักเกณฑ์หน่อยก็จะดูดี (มีปัญญาอยู่บ้าง/ผู้บันทึก)
7. การไม่เปิดทิฐิรับฟัง ไม่ตั้งใจฟังด้วยดี จึงไม่มีองค์ของปัจจัยที่ช่วยให้เกิดสัมมาทิฐิ ต้องเริ่มต้นประพฤติ ลดละ อรติ วิรติ ไปจากกามสังกัปปะ มีการวิจัยกาย วิจัยเวทนา วิจัยจิต วิจัยธรรม ไปเรื่อยๆ จะได้รู้เองถึงความรู้ตัวที่ต่อเนื่องไปจาก สติ ไปสู่ ->สัมปชัญญะ เกิดสัมปชานะรู้เวทนาในขณะปฏิบัติ จนรู้จักแยกแยะเป็นสัมปัชชติ แล้วแผดเผาด้วยไฟฌาน เกิดความร้อน เกิดสว่างเรืองรอง จึงรู้ สัมปัชชลติ จึงรู้การเข้าถึงผลบรรลุ เป็นสัมปัตตะ หรือ สัมปทา
8. จึงควรลดทิฐิ ควรทำใจในใจเป็น ทำใจเห็นความไม่เที่ยงชนิดที่ลึกซึ้ง (คัมภีรา) ไม่ใช่ไปเห็นว่ากายไม่เที่ยงนั้น เป็นได้แค่ว่าร่างกายมันจะต้องชราเสื่อมลงไป ซึ่งเห็นเช่นนั้นมันไม่ได้ลึกซึ้งคัมภีราอะไรเลย เพราะตาเห็นรูป มันก็จะเห็นรูปได้อยู่อีกอย่างยาวนาน มันก็เที่ยงอยู่เช่นนั้นเอง ไม่อาจเห็นความไม่เที่ยงอันลึกซึ้งนี้ได้
พ่อครูสอนเป้าหมายการจะเห็นรูปไม่เที่ยงต่างๆ ได้นั้น จะต้องมีครบทั้งกายนอกและกายใน คือ มีรูปนอก มีตา มีจักษุวิญญาณการรับรู้ มีจักษุเกิดผัสสะแล้วมีสัมผัสชาเวทนาเพราะอาศัยตากับรูปมากระทบกัน เมื่อเห็นแล้วจะเกิดสุขเวทนา หรือทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยจักษุสัมผัสนั้นเป็นปัจจัย แล้วปฏิบัติจนเห็นความไม่เที่ยงในขณะเปิดตารู้เห็นอยู่ จึงจะเห็นอนิจจโตอย่างสัมมาทิฐิ ... ฯลฯ
9. พ่อครูวอนขอให้ตั้งใจฟังอย่างดีๆ ดูบ้าง อย่าเอาแต่จะแย้ง จะได้รู้จักวิธีกระทำใจให้เป็น รู้เหตุแห่งทุกข์ จับตัว “สักกายทิฐิ” ให้ได้ จึงจะปฏิบัติกำจัดตัวมันให้พ้นออกไปให้ได้ ขจัดได้ในขณะมีผัสสะมากระทบกระแทกอยู่แท้ๆ ก็สามารถเห็นการพ้นไปจากตัวกิเลสสักกายะได้ ลองไปทำให้เกิดการเห็นความไม่เที่ยงดูสิ ว่ามันจะมีอาการอยู่เท่าเก่าหรือคงที่ไหม คุณไปบำเรอมัน มันก็ไม่เที่ยงเท่าเก่า หรือคุณจะไปประหารมันด้วยการกดข่ม มันก็ย่อมอ่อนกำลังความอยากลง นี่มันก็เห็นความไม่เที่ยง ที่มีอาการปรากฏสัมผัสที่จิตจริงๆ
10. คุณก็ตามเห็นอนิจจานุปัสสี คือ ตามเห็นอาการที่กิเลสมันไม่เหลือเท่าเดิมได้ คุณเห็นวิราคานุปัสสี เห็นความจางคลายลงไปของราคะจิต เห็นนิโรธานุปัสสีคือตามเห็นความดับลงไปของกิเลส ฯลฯ เมื่อเห็นการพ้นสักกายะไปได้ ...
พ่อครูจำแนกอัตตา ๓ ออกให้ละเอียดว่า ตัวตนขั้นหยาบๆ เรียกว่า สักกายะ ที่ยังข้องเกี่ยวกามภพอันหยาบๆด้วยอบาย ที่ควรกำหนดรู้ให้ดีๆ ก่อน จึงค่อยไปเรียนรู้ส่วนที่เหลือ ที่ยังมีละเอียดเป็นรูปราคะ อรูปราคะในเรื่องของอบายภูมิกันอีก ... อนาคามีท่านก็ตัดขาดจากกามภพหยาบๆ ภายนอกได้หมดแล้ว จึงเหลือแต่จิตที่มีอรูปราคะอยู่เท่านั้น การที่ท่านจะเข้าไปอยู่ป่าจึงเป็นบททดสอบว่าท่านจะจมติดป่า หรือจะลอยเพราะป่า
11. พ่อครูพากเพียรสอนให้รู้จักทิฐิทั้งสาม ที่จะให้ไปพากเพียรละทิฐิแล้ว ยังนึกถึงทิฐิอีก ๑๐ ที่จะต้องกำหนดรู้ให้ดีๆ เพื่อทำใจในใจให้เป็น เช่น ทานที่ทำแล้ว กระทำใจในใจอย่างไรจึงจะมีผลได้นิพพาน (จึงจะเรียกได้ว่า อัตถิ ทินนัง) ... คือ ทานคือให้แล้วก็ให้ขาด สัตบุรุษต้องสอนให้เข้าใจการทำทานกันอย่างนี้ อย่าไปสอนให้ได้รับผลตอบแทน ให้ล่ำให้รวย ฯลฯ สรุปแล้ว ทำทานต้องลดกิเลสลงได้
12. ทิฐิข้อ๒ คือ ยิฏฐัง ก็คือพิธีการปฏิบัติต่างๆ เช่น การสวดมนต์ การพิจารณาข้อปริยัติต่างๆ แล้วทำให้จิตคลายความยึดมั่น (จากการยึดถือผิด การยึดถือเอาความสุขที่ไร้แก่นสาร) ลงได้ไหม ... การพาไปปฏิบัตินั่งสมาธิเอาจิตไปจดจ่ออยู่กับกสิณ ให้จิตสงบเป็นสมาธิก่อนแล้วก็สอนว่า ยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา แล้วจะเอาอะไรมาพิจารณา ก็มันไม่มีเหตุปัจจัยที่จะรู้อยู่ เห็นอยู่ ด้วยตา ด้วยหู ฯลฯ... มันก็เป็นมิจฉา ที่ไม่เกิดผลอะไร
ท่านผู้สอนสมาธิทำฌาน ก็สอนกันว่าฌานที่ ๔ นั้นมันนึกคิดอะไรไม่ได้ จึงต้องเพิกฌาน หรือถอยกลับไปสู่ฌานที่๑ เสียก่อน จึงจะคิดพิจารณาได้ (นี่ก็พาซื่อหลงผิดเอามากๆ เพราะสมัยบวชเป็นพระปฏิบัติในป่าในถ้ำ ผมเคยได้ยินผู้รู้ชำนาญการทำสมาธิท่านสอนกันยังงี้จริงๆ /ผู้บันทึก)
1. ท่านเดินดินเกริ่น..วัดอื่นก็เตรียมพร้อมที่จะฉลองสัมพุทธชยันตี เช่น บวชพระให้ได้จำนวนมาก คำว่าบวชก็คือการเว้นจิตออกจากความชั่วให้ได้ มองไปที่นักเรียนตำรวจ อุตส่าห์ฝึกหัดมาจนได้ แต่พอได้เครื่องแบบแล้วกลับไปเป็นโจร นี้คือไปเน้นการได้รูปแบบ ไม่ได้มีจิตใจเป็นแก่นแท้ การบวชนั้นจิตใจจะต้องเข้าถึงการบวช(เนกขัมมะ) ได้เบื้องต้นแห่งพระโสดาบัน
2. พ่อครูว่าจะสอนต่อเรื่องความพร้อมก่อนจะเป็นโสดาบัน ต้องย้ำซ้ำซากอีกว่า ผู้จะปฏิบัติจนบรรลุมรรคผลได้นั้น ก็จะเป็นไปตามลำดับที่พระพุทธองค์ตรัสให้แนวทางไว้ การบวชที่ว่านี้ ไม่จำเป็นต้องมาเข้าพิธีบวชก็ได้ ขอให้ตั้งใจศึกษาเอาจิตใจออกจากกิเลส ทำเนกขัมมะออกจากกามพยาบาท ออกจากวัฏฏสงสารที่ยังอวิชชาอยู่ ศึกษาให้สัมมาทิฐิดีๆ เถิดแล้วตั้งใจปฏิบัติให้ดีๆ ทำให้ได้ตามลักษณะของแสงอรุณแห่งธรรม อันดับแรกคือ ต้องรู้จักเลือกเฟ้นคบหามิตรดี
3. มิตรดีได้แก่ผู้ที่เป็นสัตบุรุษ หรือเป็นสมณพราหมณ์ในข้อที่ ๑๐ ของสัมมาทิฐิ ซึ่งท่านเป็นผู้มีความรู้ยิ่งเป็นของตนเอง (สยัง อภิญญา) ดังนั้นจึงต้องแสวงหาการคบบัณฑิต ไม่ใช่ไปอยู่คนเดียวแล้วจะบรรลุรู้เองขึ้นมา ซึ่งถ้าคุณมีบารมีสูงเองก็พอว่า ดังนั้นจึงต้องควรอยู่กับหมู่มิตรดี เพื่อจะได้ฟังทิฐิความเห็นอื่น เพื่อช่วยให้เกิดองค์คุณแห่งสัมมาทิฐิ
4. แสงอรุณที่ควรมาก่อนต่อจากนั้นก็คือ การเข้าถึงพร้อมด้วยศีล การนั่งสมาธิอยู่เฉยๆ แล้วก็หลงว่ามีศีลบริสุทธิ์เพราะไม่ได้พูดปด ไม่ได้ละเมิดศีลอะไรเลย พ่อครูว่านี้แหละที่ล้มเหลว การจะบริสุทธิ์ได้จะต้องมีสัมผัสมาทดสอบจริงๆ ราคะ โทสะ จะเกิดการละเมิดไหม จะต้องทำให้ลดความแรงของกิเลสลง จึงจะรู้ว่าพ้นราคะ โทสะ โมหะ ... เช่น ศีลบางอย่างในการงานอาชีพ ทำอยู่ทำกิน โสดาบันจะต้องละเว้นมิจฉาอาชีวะ ๕ เลิกการคดโกงทุจริตคอร์รัปชั่น (กุหนา) และเลิกการล่อลวง หลอกลวงเขา (ลัปนา) สองอย่างนี้ควรเลิกออกมาให้เด็ดขาดก่อน ส่วนขั้นที่ ๓ นั้น การตลบตะแลง (เนมิตตกตา) เริ่มปฏิบัติให้พ้นการเสี่ยง ต้องทำให้หมดสิ้นการตลบตะแลง ขั้นที่๔ คือ คุณมีศีลได้เป็นส่วนตนดีแล้ว แต่ก็ยังมอบตนไปในหมู่ที่ผิดอยู่ ยังเป็นเครื่องมือให้เขาไปเบียดเบียนมนุษย์ด้วยกัน
5. สัมมาอาชีวะระดับที่ ๕ สะอาดบริสุทธิ์ที่สุดเลยคือ “ทำงานฟรี” ไม่ต้องเอาสิ่งแลกเปลี่ยนกลับคืนมาเลย (ไม่เอาลาภแลกลาภ หรือไม่ต้องเอาลาภต่อลาภ) พ่อครูเอาทฤษฎีทำงานฟรีของพระพุทธเจ้ามาให้มนุษยชาติประพฤติกันในยุคนี้ ยุคที่ใกล้กาลียุคด้วยซ้ำไป ก็ยังปฏิบัติกันได้โดยไม่จำกัดกาล ... แม้พวกเรายังไม่ได้เป็นอนาคามีกันถึงจิตจริงๆ แต่ทางกายที่พอดูออกได้ ก็ยังสามารถทำงานเหน็ดเหนื่อยให้ฟรีได้ ถือว่าเป็นโคตรภูบุคคล ที่รอแต่เวลาที่จิตตัดขาดได้ (เป็นโคตรภูจิต) จนเกิดญาณที่อ่านรู้ว่าตนเองตัดโคตรได้ เรียกว่า “โคตรภูญาณ” ที่หลุดพ้นแล้ว ว่างสบายแล้ว จิตก็เป็นได้ ญาณก็รู้ว่าจบกิจ มีกตญาณที่รู้ความจบสิ้น รู้นิโรธ รู้ความจบที่บริบูรณ์สิ้นแล้ว
6. การจะรู้จักโคตรภูญาณก็มีพื้นความรู้มาจากศีลไปเป็นสมาธิ มีฉันทะยินดี และไม่ประมาท เข้าถึงความไม่ประมาท คือไม่ปล่อยปละละเลยในการสังวร ระวัง พากเพียรปหานไปตามที่เราสมาทาน ... พ่อครูจะตั้งใจอธิบายเรื่องทิฐิให้ดีๆ เพราะคนเราจะต้องมีความเห็นเข้าใจให้สัมมาทิฐิก่อนเป็นสำคัญ คือ จะต้องยอมฟังผู้อื่น มีปรโตโฆสะ ลองฟังความเห็นบัณฑิตอื่นดูบ้าง
ก็มักจะมีคนส่ง sms มาแย้งแบบคนไม่มีปัญญา แย้งแบบตะแบงๆ เช่น พ่อครูพูดถึงการออกป่าของพระที่หลงผิด ... “ศึกษามาดีแล้วก็ปฏิบัติไป จะมาว่าคนอื่นเหมือนไม่มีทางไป” ... “ปฏิบัติธรรมแล้วมานั่งถามตอบถึงความสำเร็จ เหมือนเด็กเรียนหนังสือเลย” ซึ่งพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายก็ยังสอบถามกันเลย พ่อครูเห็นว่า ถ้าแย้งเข้าหลักเกณฑ์หน่อยก็จะดูดี (มีปัญญาอยู่บ้าง/ผู้บันทึก)
7. การไม่เปิดทิฐิรับฟัง ไม่ตั้งใจฟังด้วยดี จึงไม่มีองค์ของปัจจัยที่ช่วยให้เกิดสัมมาทิฐิ ต้องเริ่มต้นประพฤติ ลดละ อรติ วิรติ ไปจากกามสังกัปปะ มีการวิจัยกาย วิจัยเวทนา วิจัยจิต วิจัยธรรม ไปเรื่อยๆ จะได้รู้เองถึงความรู้ตัวที่ต่อเนื่องไปจาก สติ ไปสู่ ->สัมปชัญญะ เกิดสัมปชานะรู้เวทนาในขณะปฏิบัติ จนรู้จักแยกแยะเป็นสัมปัชชติ แล้วแผดเผาด้วยไฟฌาน เกิดความร้อน เกิดสว่างเรืองรอง จึงรู้ สัมปัชชลติ จึงรู้การเข้าถึงผลบรรลุ เป็นสัมปัตตะ หรือ สัมปทา
8. จึงควรลดทิฐิ ควรทำใจในใจเป็น ทำใจเห็นความไม่เที่ยงชนิดที่ลึกซึ้ง (คัมภีรา) ไม่ใช่ไปเห็นว่ากายไม่เที่ยงนั้น เป็นได้แค่ว่าร่างกายมันจะต้องชราเสื่อมลงไป ซึ่งเห็นเช่นนั้นมันไม่ได้ลึกซึ้งคัมภีราอะไรเลย เพราะตาเห็นรูป มันก็จะเห็นรูปได้อยู่อีกอย่างยาวนาน มันก็เที่ยงอยู่เช่นนั้นเอง ไม่อาจเห็นความไม่เที่ยงอันลึกซึ้งนี้ได้
พ่อครูสอนเป้าหมายการจะเห็นรูปไม่เที่ยงต่างๆ ได้นั้น จะต้องมีครบทั้งกายนอกและกายใน คือ มีรูปนอก มีตา มีจักษุวิญญาณการรับรู้ มีจักษุเกิดผัสสะแล้วมีสัมผัสชาเวทนาเพราะอาศัยตากับรูปมากระทบกัน เมื่อเห็นแล้วจะเกิดสุขเวทนา หรือทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยจักษุสัมผัสนั้นเป็นปัจจัย แล้วปฏิบัติจนเห็นความไม่เที่ยงในขณะเปิดตารู้เห็นอยู่ จึงจะเห็นอนิจจโตอย่างสัมมาทิฐิ ... ฯลฯ
9. พ่อครูวอนขอให้ตั้งใจฟังอย่างดีๆ ดูบ้าง อย่าเอาแต่จะแย้ง จะได้รู้จักวิธีกระทำใจให้เป็น รู้เหตุแห่งทุกข์ จับตัว “สักกายทิฐิ” ให้ได้ จึงจะปฏิบัติกำจัดตัวมันให้พ้นออกไปให้ได้ ขจัดได้ในขณะมีผัสสะมากระทบกระแทกอยู่แท้ๆ ก็สามารถเห็นการพ้นไปจากตัวกิเลสสักกายะได้ ลองไปทำให้เกิดการเห็นความไม่เที่ยงดูสิ ว่ามันจะมีอาการอยู่เท่าเก่าหรือคงที่ไหม คุณไปบำเรอมัน มันก็ไม่เที่ยงเท่าเก่า หรือคุณจะไปประหารมันด้วยการกดข่ม มันก็ย่อมอ่อนกำลังความอยากลง นี่มันก็เห็นความไม่เที่ยง ที่มีอาการปรากฏสัมผัสที่จิตจริงๆ
10. คุณก็ตามเห็นอนิจจานุปัสสี คือ ตามเห็นอาการที่กิเลสมันไม่เหลือเท่าเดิมได้ คุณเห็นวิราคานุปัสสี เห็นความจางคลายลงไปของราคะจิต เห็นนิโรธานุปัสสีคือตามเห็นความดับลงไปของกิเลส ฯลฯ เมื่อเห็นการพ้นสักกายะไปได้ ...
พ่อครูจำแนกอัตตา ๓ ออกให้ละเอียดว่า ตัวตนขั้นหยาบๆ เรียกว่า สักกายะ ที่ยังข้องเกี่ยวกามภพอันหยาบๆด้วยอบาย ที่ควรกำหนดรู้ให้ดีๆ ก่อน จึงค่อยไปเรียนรู้ส่วนที่เหลือ ที่ยังมีละเอียดเป็นรูปราคะ อรูปราคะในเรื่องของอบายภูมิกันอีก ... อนาคามีท่านก็ตัดขาดจากกามภพหยาบๆ ภายนอกได้หมดแล้ว จึงเหลือแต่จิตที่มีอรูปราคะอยู่เท่านั้น การที่ท่านจะเข้าไปอยู่ป่าจึงเป็นบททดสอบว่าท่านจะจมติดป่า หรือจะลอยเพราะป่า
11. พ่อครูพากเพียรสอนให้รู้จักทิฐิทั้งสาม ที่จะให้ไปพากเพียรละทิฐิแล้ว ยังนึกถึงทิฐิอีก ๑๐ ที่จะต้องกำหนดรู้ให้ดีๆ เพื่อทำใจในใจให้เป็น เช่น ทานที่ทำแล้ว กระทำใจในใจอย่างไรจึงจะมีผลได้นิพพาน (จึงจะเรียกได้ว่า อัตถิ ทินนัง) ... คือ ทานคือให้แล้วก็ให้ขาด สัตบุรุษต้องสอนให้เข้าใจการทำทานกันอย่างนี้ อย่าไปสอนให้ได้รับผลตอบแทน ให้ล่ำให้รวย ฯลฯ สรุปแล้ว ทำทานต้องลดกิเลสลงได้
12. ทิฐิข้อ๒ คือ ยิฏฐัง ก็คือพิธีการปฏิบัติต่างๆ เช่น การสวดมนต์ การพิจารณาข้อปริยัติต่างๆ แล้วทำให้จิตคลายความยึดมั่น (จากการยึดถือผิด การยึดถือเอาความสุขที่ไร้แก่นสาร) ลงได้ไหม ... การพาไปปฏิบัตินั่งสมาธิเอาจิตไปจดจ่ออยู่กับกสิณ ให้จิตสงบเป็นสมาธิก่อนแล้วก็สอนว่า ยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา แล้วจะเอาอะไรมาพิจารณา ก็มันไม่มีเหตุปัจจัยที่จะรู้อยู่ เห็นอยู่ ด้วยตา ด้วยหู ฯลฯ... มันก็เป็นมิจฉา ที่ไม่เกิดผลอะไร
ท่านผู้สอนสมาธิทำฌาน ก็สอนกันว่าฌานที่ ๔ นั้นมันนึกคิดอะไรไม่ได้ จึงต้องเพิกฌาน หรือถอยกลับไปสู่ฌานที่๑ เสียก่อน จึงจะคิดพิจารณาได้ (นี่ก็พาซื่อหลงผิดเอามากๆ เพราะสมัยบวชเป็นพระปฏิบัติในป่าในถ้ำ ผมเคยได้ยินผู้รู้ชำนาญการทำสมาธิท่านสอนกันยังงี้จริงๆ /ผู้บันทึก)
บันทึกย่อพ่อครูสอน เรียนอิสระตามสำนึก สันติฯ
พุธ ๒๓ พ.ค. ๒๕๕๕ ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๗ ปีมะโรง เริ่ม 18:0 น.
โดย คุณใจแปลง สู่แดนธรรม
1. ท่านเดินดินเกริ่น..วัดอื่นก็เตรียมพร้อมที่จะฉลองสัมพุทธชยันตี เช่น บวชพระให้ได้จำนวนมาก คำว่าบวชก็คือการเว้นจิตออกจากความชั่วให้ได้ มองไปที่นักเรียนตำรวจ อุตส่าห์ฝึกหัดมาจนได้ แต่พอได้เครื่องแบบแล้วกลับไปเป็นโจร นี้คือไปเน้นการได้รูปแบบ ไม่ได้มีจิตใจเป็นแก่นแท้ การบวชนั้นจิตใจจะต้องเข้าถึงการบวช(เนกขัมมะ) ได้เบื้องต้นแห่งพระโสดาบัน
2. พ่อครูว่าจะสอนต่อเรื่องความพร้อมก่อนจะเป็นโสดาบัน ต้องย้ำซ้ำซากอีกว่า ผู้จะปฏิบัติจนบรรลุมรรคผลได้นั้น ก็จะเป็นไปตามลำดับที่พระพุทธองค์ตรัสให้แนวทางไว้ การบวชที่ว่านี้ ไม่จำเป็นต้องมาเข้าพิธีบวชก็ได้ ขอให้ตั้งใจศึกษาเอาจิตใจออกจากกิเลส ทำเนกขัมมะออกจากกามพยาบาท ออกจากวัฏฏสงสารที่ยังอวิชชาอยู่ ศึกษาให้สัมมาทิฐิดีๆ เถิดแล้วตั้งใจปฏิบัติให้ดีๆ ทำให้ได้ตามลักษณะของแสงอรุณแห่งธรรม อันดับแรกคือ ต้องรู้จักเลือกเฟ้นคบหามิตรดี
3. มิตรดีได้แก่ผู้ที่เป็นสัตบุรุษ หรือเป็นสมณพราหมณ์ในข้อที่ ๑๐ ของสัมมาทิฐิ ซึ่งท่านเป็นผู้มีความรู้ยิ่งเป็นของตนเอง (สยัง อภิญญา) ดังนั้นจึงต้องแสวงหาการคบบัณฑิต ไม่ใช่ไปอยู่คนเดียวแล้วจะบรรลุรู้เองขึ้นมา ซึ่งถ้าคุณมีบารมีสูงเองก็พอว่า ดังนั้นจึงต้องควรอยู่กับหมู่มิตรดี เพื่อจะได้ฟังทิฐิความเห็นอื่น เพื่อช่วยให้เกิดองค์คุณแห่งสัมมาทิฐิ
4. แสงอรุณที่ควรมาก่อนต่อจากนั้นก็คือ การเข้าถึงพร้อมด้วยศีล การนั่งสมาธิอยู่เฉยๆ แล้วก็หลงว่ามีศีลบริสุทธิ์เพราะไม่ได้พูดปด ไม่ได้ละเมิดศีลอะไรเลย พ่อครูว่านี้แหละที่ล้มเหลว การจะบริสุทธิ์ได้จะต้องมีสัมผัสมาทดสอบจริงๆ ราคะ โทสะ จะเกิดการละเมิดไหม จะต้องทำให้ลดความแรงของกิเลสลง จึงจะรู้ว่าพ้นราคะ โทสะ โมหะ ... เช่น ศีลบางอย่างในการงานอาชีพ ทำอยู่ทำกิน โสดาบันจะต้องละเว้นมิจฉาอาชีวะ ๕ เลิกการคดโกงทุจริตคอร์รัปชั่น (กุหนา) และเลิกการล่อลวง หลอกลวงเขา (ลัปนา) สองอย่างนี้ควรเลิกออกมาให้เด็ดขาดก่อน ส่วนขั้นที่ ๓ นั้น การตลบตะแลง (เนมิตตกตา) เริ่มปฏิบัติให้พ้นการเสี่ยง ต้องทำให้หมดสิ้นการตลบตะแลง ขั้นที่๔ คือ คุณมีศีลได้เป็นส่วนตนดีแล้ว แต่ก็ยังมอบตนไปในหมู่ที่ผิดอยู่ ยังเป็นเครื่องมือให้เขาไปเบียดเบียนมนุษย์ด้วยกัน
5. สัมมาอาชีวะระดับที่ ๕ สะอาดบริสุทธิ์ที่สุดเลยคือ “ทำงานฟรี” ไม่ต้องเอาสิ่งแลกเปลี่ยนกลับคืนมาเลย (ไม่เอาลาภแลกลาภ หรือไม่ต้องเอาลาภต่อลาภ) พ่อครูเอาทฤษฎีทำงานฟรีของพระพุทธเจ้ามาให้มนุษยชาติประพฤติกันในยุคนี้ ยุคที่ใกล้กาลียุคด้วยซ้ำไป ก็ยังปฏิบัติกันได้โดยไม่จำกัดกาล ... แม้พวกเรายังไม่ได้เป็นอนาคามีกันถึงจิตจริงๆ แต่ทางกายที่พอดูออกได้ ก็ยังสามารถทำงานเหน็ดเหนื่อยให้ฟรีได้ ถือว่าเป็นโคตรภูบุคคล ที่รอแต่เวลาที่จิตตัดขาดได้ (เป็นโคตรภูจิต) จนเกิดญาณที่อ่านรู้ว่าตนเองตัดโคตรได้ เรียกว่า “โคตรภูญาณ” ที่หลุดพ้นแล้ว ว่างสบายแล้ว จิตก็เป็นได้ ญาณก็รู้ว่าจบกิจ มีกตญาณที่รู้ความจบสิ้น รู้นิโรธ รู้ความจบที่บริบูรณ์สิ้นแล้ว
6. การจะรู้จักโคตรภูญาณก็มีพื้นความรู้มาจากศีลไปเป็นสมาธิ มีฉันทะยินดี และไม่ประมาท เข้าถึงความไม่ประมาท คือไม่ปล่อยปละละเลยในการสังวร ระวัง พากเพียรปหานไปตามที่เราสมาทาน ... พ่อครูจะตั้งใจอธิบายเรื่องทิฐิให้ดีๆ เพราะคนเราจะต้องมีความเห็นเข้าใจให้สัมมาทิฐิก่อนเป็นสำคัญ คือ จะต้องยอมฟังผู้อื่น มีปรโตโฆสะ ลองฟังความเห็นบัณฑิตอื่นดูบ้าง
ก็มักจะมีคนส่ง sms มาแย้งแบบคนไม่มีปัญญา แย้งแบบตะแบงๆ เช่น พ่อครูพูดถึงการออกป่าของพระที่หลงผิด ... “ศึกษามาดีแล้วก็ปฏิบัติไป จะมาว่าคนอื่นเหมือนไม่มีทางไป” ... “ปฏิบัติธรรมแล้วมานั่งถามตอบถึงความสำเร็จ เหมือนเด็กเรียนหนังสือเลย” ซึ่งพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายก็ยังสอบถามกันเลย พ่อครูเห็นว่า ถ้าแย้งเข้าหลักเกณฑ์หน่อยก็จะดูดี (มีปัญญาอยู่บ้าง/ผู้บันทึก)
7. การไม่เปิดทิฐิรับฟัง ไม่ตั้งใจฟังด้วยดี จึงไม่มีองค์ของปัจจัยที่ช่วยให้เกิดสัมมาทิฐิ ต้องเริ่มต้นประพฤติ ลดละ อรติ วิรติ ไปจากกามสังกัปปะ มีการวิจัยกาย วิจัยเวทนา วิจัยจิต วิจัยธรรม ไปเรื่อยๆ จะได้รู้เองถึงความรู้ตัวที่ต่อเนื่องไปจาก สติ ไปสู่ ->สัมปชัญญะ เกิดสัมปชานะรู้เวทนาในขณะปฏิบัติ จนรู้จักแยกแยะเป็นสัมปัชชติ แล้วแผดเผาด้วยไฟฌาน เกิดความร้อน เกิดสว่างเรืองรอง จึงรู้ สัมปัชชลติ จึงรู้การเข้าถึงผลบรรลุ เป็นสัมปัตตะ หรือ สัมปทา
8. จึงควรลดทิฐิ ควรทำใจในใจเป็น ทำใจเห็นความไม่เที่ยงชนิดที่ลึกซึ้ง (คัมภีรา) ไม่ใช่ไปเห็นว่ากายไม่เที่ยงนั้น เป็นได้แค่ว่าร่างกายมันจะต้องชราเสื่อมลงไป ซึ่งเห็นเช่นนั้นมันไม่ได้ลึกซึ้งคัมภีราอะไรเลย เพราะตาเห็นรูป มันก็จะเห็นรูปได้อยู่อีกอย่างยาวนาน มันก็เที่ยงอยู่เช่นนั้นเอง ไม่อาจเห็นความไม่เที่ยงอันลึกซึ้งนี้ได้
พ่อครูสอนเป้าหมายการจะเห็นรูปไม่เที่ยงต่างๆ ได้นั้น จะต้องมีครบทั้งกายนอกและกายใน คือ มีรูปนอก มีตา มีจักษุวิญญาณการรับรู้ มีจักษุเกิดผัสสะแล้วมีสัมผัสชาเวทนาเพราะอาศัยตากับรูปมากระทบกัน เมื่อเห็นแล้วจะเกิดสุขเวทนา หรือทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยจักษุสัมผัสนั้นเป็นปัจจัย แล้วปฏิบัติจนเห็นความไม่เที่ยงในขณะเปิดตารู้เห็นอยู่ จึงจะเห็นอนิจจโตอย่างสัมมาทิฐิ ... ฯลฯ
9. พ่อครูวอนขอให้ตั้งใจฟังอย่างดีๆ ดูบ้าง อย่าเอาแต่จะแย้ง จะได้รู้จักวิธีกระทำใจให้เป็น รู้เหตุแห่งทุกข์ จับตัว “สักกายทิฐิ” ให้ได้ จึงจะปฏิบัติกำจัดตัวมันให้พ้นออกไปให้ได้ ขจัดได้ในขณะมีผัสสะมากระทบกระแทกอยู่แท้ๆ ก็สามารถเห็นการพ้นไปจากตัวกิเลสสักกายะได้ ลองไปทำให้เกิดการเห็นความไม่เที่ยงดูสิ ว่ามันจะมีอาการอยู่เท่าเก่าหรือคงที่ไหม คุณไปบำเรอมัน มันก็ไม่เที่ยงเท่าเก่า หรือคุณจะไปประหารมันด้วยการกดข่ม มันก็ย่อมอ่อนกำลังความอยากลง นี่มันก็เห็นความไม่เที่ยง ที่มีอาการปรากฏสัมผัสที่จิตจริงๆ
10. คุณก็ตามเห็นอนิจจานุปัสสี คือ ตามเห็นอาการที่กิเลสมันไม่เหลือเท่าเดิมได้ คุณเห็นวิราคานุปัสสี เห็นความจางคลายลงไปของราคะจิต เห็นนิโรธานุปัสสีคือตามเห็นความดับลงไปของกิเลส ฯลฯ เมื่อเห็นการพ้นสักกายะไปได้ ...
พ่อครูจำแนกอัตตา ๓ ออกให้ละเอียดว่า ตัวตนขั้นหยาบๆ เรียกว่า สักกายะ ที่ยังข้องเกี่ยวกามภพอันหยาบๆด้วยอบาย ที่ควรกำหนดรู้ให้ดีๆ ก่อน จึงค่อยไปเรียนรู้ส่วนที่เหลือ ที่ยังมีละเอียดเป็นรูปราคะ อรูปราคะในเรื่องของอบายภูมิกันอีก ... อนาคามีท่านก็ตัดขาดจากกามภพหยาบๆ ภายนอกได้หมดแล้ว จึงเหลือแต่จิตที่มีอรูปราคะอยู่เท่านั้น การที่ท่านจะเข้าไปอยู่ป่าจึงเป็นบททดสอบว่าท่านจะจมติดป่า หรือจะลอยเพราะป่า
11. พ่อครูพากเพียรสอนให้รู้จักทิฐิทั้งสาม ที่จะให้ไปพากเพียรละทิฐิแล้ว ยังนึกถึงทิฐิอีก ๑๐ ที่จะต้องกำหนดรู้ให้ดีๆ เพื่อทำใจในใจให้เป็น เช่น ทานที่ทำแล้ว กระทำใจในใจอย่างไรจึงจะมีผลได้นิพพาน (จึงจะเรียกได้ว่า อัตถิ ทินนัง) ... คือ ทานคือให้แล้วก็ให้ขาด สัตบุรุษต้องสอนให้เข้าใจการทำทานกันอย่างนี้ อย่าไปสอนให้ได้รับผลตอบแทน ให้ล่ำให้รวย ฯลฯ สรุปแล้ว ทำทานต้องลดกิเลสลงได้
12. ทิฐิข้อ๒ คือ ยิฏฐัง ก็คือพิธีการปฏิบัติต่างๆ เช่น การสวดมนต์ การพิจารณาข้อปริยัติต่างๆ แล้วทำให้จิตคลายความยึดมั่น (จากการยึดถือผิด การยึดถือเอาความสุขที่ไร้แก่นสาร) ลงได้ไหม ... การพาไปปฏิบัตินั่งสมาธิเอาจิตไปจดจ่ออยู่กับกสิณ ให้จิตสงบเป็นสมาธิก่อนแล้วก็สอนว่า ยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา แล้วจะเอาอะไรมาพิจารณา ก็มันไม่มีเหตุปัจจัยที่จะรู้อยู่ เห็นอยู่ ด้วยตา ด้วยหู ฯลฯ... มันก็เป็นมิจฉา ที่ไม่เกิดผลอะไร
ท่านผู้สอนสมาธิทำฌาน ก็สอนกันว่าฌานที่ ๔ นั้นมันนึกคิดอะไรไม่ได้ จึงต้องเพิกฌาน หรือถอยกลับไปสู่ฌานที่๑ เสียก่อน จึงจะคิดพิจารณาได้ (นี่ก็พาซื่อหลงผิดเอามากๆ เพราะสมัยบวชเป็นพระปฏิบัติในป่าในถ้ำ ผมเคยได้ยินผู้รู้ชำนาญการทำสมาธิท่านสอนกันยังงี้จริงๆ /ผู้บันทึก)
1. ท่านเดินดินเกริ่น..วัดอื่นก็เตรียมพร้อมที่จะฉลองสัมพุทธชยันตี เช่น บวชพระให้ได้จำนวนมาก คำว่าบวชก็คือการเว้นจิตออกจากความชั่วให้ได้ มองไปที่นักเรียนตำรวจ อุตส่าห์ฝึกหัดมาจนได้ แต่พอได้เครื่องแบบแล้วกลับไปเป็นโจร นี้คือไปเน้นการได้รูปแบบ ไม่ได้มีจิตใจเป็นแก่นแท้ การบวชนั้นจิตใจจะต้องเข้าถึงการบวช(เนกขัมมะ) ได้เบื้องต้นแห่งพระโสดาบัน
2. พ่อครูว่าจะสอนต่อเรื่องความพร้อมก่อนจะเป็นโสดาบัน ต้องย้ำซ้ำซากอีกว่า ผู้จะปฏิบัติจนบรรลุมรรคผลได้นั้น ก็จะเป็นไปตามลำดับที่พระพุทธองค์ตรัสให้แนวทางไว้ การบวชที่ว่านี้ ไม่จำเป็นต้องมาเข้าพิธีบวชก็ได้ ขอให้ตั้งใจศึกษาเอาจิตใจออกจากกิเลส ทำเนกขัมมะออกจากกามพยาบาท ออกจากวัฏฏสงสารที่ยังอวิชชาอยู่ ศึกษาให้สัมมาทิฐิดีๆ เถิดแล้วตั้งใจปฏิบัติให้ดีๆ ทำให้ได้ตามลักษณะของแสงอรุณแห่งธรรม อันดับแรกคือ ต้องรู้จักเลือกเฟ้นคบหามิตรดี
3. มิตรดีได้แก่ผู้ที่เป็นสัตบุรุษ หรือเป็นสมณพราหมณ์ในข้อที่ ๑๐ ของสัมมาทิฐิ ซึ่งท่านเป็นผู้มีความรู้ยิ่งเป็นของตนเอง (สยัง อภิญญา) ดังนั้นจึงต้องแสวงหาการคบบัณฑิต ไม่ใช่ไปอยู่คนเดียวแล้วจะบรรลุรู้เองขึ้นมา ซึ่งถ้าคุณมีบารมีสูงเองก็พอว่า ดังนั้นจึงต้องควรอยู่กับหมู่มิตรดี เพื่อจะได้ฟังทิฐิความเห็นอื่น เพื่อช่วยให้เกิดองค์คุณแห่งสัมมาทิฐิ
4. แสงอรุณที่ควรมาก่อนต่อจากนั้นก็คือ การเข้าถึงพร้อมด้วยศีล การนั่งสมาธิอยู่เฉยๆ แล้วก็หลงว่ามีศีลบริสุทธิ์เพราะไม่ได้พูดปด ไม่ได้ละเมิดศีลอะไรเลย พ่อครูว่านี้แหละที่ล้มเหลว การจะบริสุทธิ์ได้จะต้องมีสัมผัสมาทดสอบจริงๆ ราคะ โทสะ จะเกิดการละเมิดไหม จะต้องทำให้ลดความแรงของกิเลสลง จึงจะรู้ว่าพ้นราคะ โทสะ โมหะ ... เช่น ศีลบางอย่างในการงานอาชีพ ทำอยู่ทำกิน โสดาบันจะต้องละเว้นมิจฉาอาชีวะ ๕ เลิกการคดโกงทุจริตคอร์รัปชั่น (กุหนา) และเลิกการล่อลวง หลอกลวงเขา (ลัปนา) สองอย่างนี้ควรเลิกออกมาให้เด็ดขาดก่อน ส่วนขั้นที่ ๓ นั้น การตลบตะแลง (เนมิตตกตา) เริ่มปฏิบัติให้พ้นการเสี่ยง ต้องทำให้หมดสิ้นการตลบตะแลง ขั้นที่๔ คือ คุณมีศีลได้เป็นส่วนตนดีแล้ว แต่ก็ยังมอบตนไปในหมู่ที่ผิดอยู่ ยังเป็นเครื่องมือให้เขาไปเบียดเบียนมนุษย์ด้วยกัน
5. สัมมาอาชีวะระดับที่ ๕ สะอาดบริสุทธิ์ที่สุดเลยคือ “ทำงานฟรี” ไม่ต้องเอาสิ่งแลกเปลี่ยนกลับคืนมาเลย (ไม่เอาลาภแลกลาภ หรือไม่ต้องเอาลาภต่อลาภ) พ่อครูเอาทฤษฎีทำงานฟรีของพระพุทธเจ้ามาให้มนุษยชาติประพฤติกันในยุคนี้ ยุคที่ใกล้กาลียุคด้วยซ้ำไป ก็ยังปฏิบัติกันได้โดยไม่จำกัดกาล ... แม้พวกเรายังไม่ได้เป็นอนาคามีกันถึงจิตจริงๆ แต่ทางกายที่พอดูออกได้ ก็ยังสามารถทำงานเหน็ดเหนื่อยให้ฟรีได้ ถือว่าเป็นโคตรภูบุคคล ที่รอแต่เวลาที่จิตตัดขาดได้ (เป็นโคตรภูจิต) จนเกิดญาณที่อ่านรู้ว่าตนเองตัดโคตรได้ เรียกว่า “โคตรภูญาณ” ที่หลุดพ้นแล้ว ว่างสบายแล้ว จิตก็เป็นได้ ญาณก็รู้ว่าจบกิจ มีกตญาณที่รู้ความจบสิ้น รู้นิโรธ รู้ความจบที่บริบูรณ์สิ้นแล้ว
6. การจะรู้จักโคตรภูญาณก็มีพื้นความรู้มาจากศีลไปเป็นสมาธิ มีฉันทะยินดี และไม่ประมาท เข้าถึงความไม่ประมาท คือไม่ปล่อยปละละเลยในการสังวร ระวัง พากเพียรปหานไปตามที่เราสมาทาน ... พ่อครูจะตั้งใจอธิบายเรื่องทิฐิให้ดีๆ เพราะคนเราจะต้องมีความเห็นเข้าใจให้สัมมาทิฐิก่อนเป็นสำคัญ คือ จะต้องยอมฟังผู้อื่น มีปรโตโฆสะ ลองฟังความเห็นบัณฑิตอื่นดูบ้าง
ก็มักจะมีคนส่ง sms มาแย้งแบบคนไม่มีปัญญา แย้งแบบตะแบงๆ เช่น พ่อครูพูดถึงการออกป่าของพระที่หลงผิด ... “ศึกษามาดีแล้วก็ปฏิบัติไป จะมาว่าคนอื่นเหมือนไม่มีทางไป” ... “ปฏิบัติธรรมแล้วมานั่งถามตอบถึงความสำเร็จ เหมือนเด็กเรียนหนังสือเลย” ซึ่งพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายก็ยังสอบถามกันเลย พ่อครูเห็นว่า ถ้าแย้งเข้าหลักเกณฑ์หน่อยก็จะดูดี (มีปัญญาอยู่บ้าง/ผู้บันทึก)
7. การไม่เปิดทิฐิรับฟัง ไม่ตั้งใจฟังด้วยดี จึงไม่มีองค์ของปัจจัยที่ช่วยให้เกิดสัมมาทิฐิ ต้องเริ่มต้นประพฤติ ลดละ อรติ วิรติ ไปจากกามสังกัปปะ มีการวิจัยกาย วิจัยเวทนา วิจัยจิต วิจัยธรรม ไปเรื่อยๆ จะได้รู้เองถึงความรู้ตัวที่ต่อเนื่องไปจาก สติ ไปสู่ ->สัมปชัญญะ เกิดสัมปชานะรู้เวทนาในขณะปฏิบัติ จนรู้จักแยกแยะเป็นสัมปัชชติ แล้วแผดเผาด้วยไฟฌาน เกิดความร้อน เกิดสว่างเรืองรอง จึงรู้ สัมปัชชลติ จึงรู้การเข้าถึงผลบรรลุ เป็นสัมปัตตะ หรือ สัมปทา
8. จึงควรลดทิฐิ ควรทำใจในใจเป็น ทำใจเห็นความไม่เที่ยงชนิดที่ลึกซึ้ง (คัมภีรา) ไม่ใช่ไปเห็นว่ากายไม่เที่ยงนั้น เป็นได้แค่ว่าร่างกายมันจะต้องชราเสื่อมลงไป ซึ่งเห็นเช่นนั้นมันไม่ได้ลึกซึ้งคัมภีราอะไรเลย เพราะตาเห็นรูป มันก็จะเห็นรูปได้อยู่อีกอย่างยาวนาน มันก็เที่ยงอยู่เช่นนั้นเอง ไม่อาจเห็นความไม่เที่ยงอันลึกซึ้งนี้ได้
พ่อครูสอนเป้าหมายการจะเห็นรูปไม่เที่ยงต่างๆ ได้นั้น จะต้องมีครบทั้งกายนอกและกายใน คือ มีรูปนอก มีตา มีจักษุวิญญาณการรับรู้ มีจักษุเกิดผัสสะแล้วมีสัมผัสชาเวทนาเพราะอาศัยตากับรูปมากระทบกัน เมื่อเห็นแล้วจะเกิดสุขเวทนา หรือทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยจักษุสัมผัสนั้นเป็นปัจจัย แล้วปฏิบัติจนเห็นความไม่เที่ยงในขณะเปิดตารู้เห็นอยู่ จึงจะเห็นอนิจจโตอย่างสัมมาทิฐิ ... ฯลฯ
9. พ่อครูวอนขอให้ตั้งใจฟังอย่างดีๆ ดูบ้าง อย่าเอาแต่จะแย้ง จะได้รู้จักวิธีกระทำใจให้เป็น รู้เหตุแห่งทุกข์ จับตัว “สักกายทิฐิ” ให้ได้ จึงจะปฏิบัติกำจัดตัวมันให้พ้นออกไปให้ได้ ขจัดได้ในขณะมีผัสสะมากระทบกระแทกอยู่แท้ๆ ก็สามารถเห็นการพ้นไปจากตัวกิเลสสักกายะได้ ลองไปทำให้เกิดการเห็นความไม่เที่ยงดูสิ ว่ามันจะมีอาการอยู่เท่าเก่าหรือคงที่ไหม คุณไปบำเรอมัน มันก็ไม่เที่ยงเท่าเก่า หรือคุณจะไปประหารมันด้วยการกดข่ม มันก็ย่อมอ่อนกำลังความอยากลง นี่มันก็เห็นความไม่เที่ยง ที่มีอาการปรากฏสัมผัสที่จิตจริงๆ
10. คุณก็ตามเห็นอนิจจานุปัสสี คือ ตามเห็นอาการที่กิเลสมันไม่เหลือเท่าเดิมได้ คุณเห็นวิราคานุปัสสี เห็นความจางคลายลงไปของราคะจิต เห็นนิโรธานุปัสสีคือตามเห็นความดับลงไปของกิเลส ฯลฯ เมื่อเห็นการพ้นสักกายะไปได้ ...
พ่อครูจำแนกอัตตา ๓ ออกให้ละเอียดว่า ตัวตนขั้นหยาบๆ เรียกว่า สักกายะ ที่ยังข้องเกี่ยวกามภพอันหยาบๆด้วยอบาย ที่ควรกำหนดรู้ให้ดีๆ ก่อน จึงค่อยไปเรียนรู้ส่วนที่เหลือ ที่ยังมีละเอียดเป็นรูปราคะ อรูปราคะในเรื่องของอบายภูมิกันอีก ... อนาคามีท่านก็ตัดขาดจากกามภพหยาบๆ ภายนอกได้หมดแล้ว จึงเหลือแต่จิตที่มีอรูปราคะอยู่เท่านั้น การที่ท่านจะเข้าไปอยู่ป่าจึงเป็นบททดสอบว่าท่านจะจมติดป่า หรือจะลอยเพราะป่า
11. พ่อครูพากเพียรสอนให้รู้จักทิฐิทั้งสาม ที่จะให้ไปพากเพียรละทิฐิแล้ว ยังนึกถึงทิฐิอีก ๑๐ ที่จะต้องกำหนดรู้ให้ดีๆ เพื่อทำใจในใจให้เป็น เช่น ทานที่ทำแล้ว กระทำใจในใจอย่างไรจึงจะมีผลได้นิพพาน (จึงจะเรียกได้ว่า อัตถิ ทินนัง) ... คือ ทานคือให้แล้วก็ให้ขาด สัตบุรุษต้องสอนให้เข้าใจการทำทานกันอย่างนี้ อย่าไปสอนให้ได้รับผลตอบแทน ให้ล่ำให้รวย ฯลฯ สรุปแล้ว ทำทานต้องลดกิเลสลงได้
12. ทิฐิข้อ๒ คือ ยิฏฐัง ก็คือพิธีการปฏิบัติต่างๆ เช่น การสวดมนต์ การพิจารณาข้อปริยัติต่างๆ แล้วทำให้จิตคลายความยึดมั่น (จากการยึดถือผิด การยึดถือเอาความสุขที่ไร้แก่นสาร) ลงได้ไหม ... การพาไปปฏิบัตินั่งสมาธิเอาจิตไปจดจ่ออยู่กับกสิณ ให้จิตสงบเป็นสมาธิก่อนแล้วก็สอนว่า ยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา แล้วจะเอาอะไรมาพิจารณา ก็มันไม่มีเหตุปัจจัยที่จะรู้อยู่ เห็นอยู่ ด้วยตา ด้วยหู ฯลฯ... มันก็เป็นมิจฉา ที่ไม่เกิดผลอะไร
ท่านผู้สอนสมาธิทำฌาน ก็สอนกันว่าฌานที่ ๔ นั้นมันนึกคิดอะไรไม่ได้ จึงต้องเพิกฌาน หรือถอยกลับไปสู่ฌานที่๑ เสียก่อน จึงจะคิดพิจารณาได้ (นี่ก็พาซื่อหลงผิดเอามากๆ เพราะสมัยบวชเป็นพระปฏิบัติในป่าในถ้ำ ผมเคยได้ยินผู้รู้ชำนาญการทำสมาธิท่านสอนกันยังงี้จริงๆ /ผู้บันทึก)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น